คู่มือการจัดการเว็บไซต์

การใช้เครื่องมือ Elementor

Elementor จะเป็นเครื่องมือหลักในการใช้ปรับแต่งหน้าเว็บ โดยใช้ในการ Edit หน้าต่างๆ หรือ การสร้าง Template Blog , Product 

 

Home : จะเป็นหน้ารวม Dashboard แสดงข้อมูลของ Elementor เช่น Guide ในการใช้ Elementor  หรือ Help Center , Youtube , Facebook Community , Blog 

Settings : ตั้งค่า Elementor 

Integrations : ส่วนขยายเพิ่มเติม หรือ Add on ของ Elementor เช่น reCAPTCHA , Google Maps Embed API

Custom Fonts : เพิ่ม Font  โดยการ คลิก Add new >  ทำการใส่ชื่อ Font (Enter Font Family) > Add Static (คือการเพิ่ม Font ที่มีความหนาแค่ขนาดเดียว) / Add Variable Font(คือการเพิ่ม Font ที่มีความหนาหลายขนาด)

Custom Icon : เพิ่ม Icon โดยการคลิก Add new > ทำการใส่ชื่อ Icon(Enter Icon Set Name) > Click Here to browse(File Type Fontello,Icomoon or Fontastic .zip file)

Role Manager :  ตั้งค่าสิทธิ์ การใช้งานของแต่ละ User 

Element Manager :  การจัดการ Widget  ของ Elementor สามารถเปิดหรือปิดได้โดยหัวข้อ Status และ สามารถตรวจสอบได้ว่าใช้ widget นี้อยู่ในหน้าในบ้าง

Tools :  เครื่องมือเพิ่มเติม

Version Control : หาก Version Elementor มีปัญหาสามารถปรับแก้ไขย้อน Version ได้ในหัวข้อนี้

Maintenance Mode :  เปิดโหมด Maintenance สำหรับการปรับปรุง Website และสามารถตั้งค่าได้ว่าใครสามารถเข้าเว็บได้

Add-ons : Add on เพิ่มเติมสำหรับ Elementor เช่น Widget การตกแต่ง หรือ ปรับแต่งหน้าเพิ่มเติม , Activity Log 

Template Elementor

Template Elementor เป็น Template เพิ่มเติมจากการ Edit หน้า เช่น Header , Footer , Popup , Product Template 

ใน Template สามารถสร้าง Template ได้หลายรูปแบบ โดยเมื่อทำการสร้าง Template แล้ว Template ที่สร้างไม่ว่าจะนำไปใช้งานหน้าไหน ก็จะเป็นรูปแบบเดียวกัน ยกตัวอย่าง Header (กรนณี ในการใช้ Template คือ ต้องการสร้าง Template รูปแบบเดียวและนำไปใช้ในหลายๆหน้า โดยสามารถแก้ไขได้ในที่เดียว)

การ Edit with Elementor

เมื่อทำการเลือก หัวข้อ Edit with Elementor  จะเข้าสู่หน้าการ Edit Page ในหน้านี้สามารถปรับแต่งหน้าได้ตามที่ต้องการโดยเลือกใช้ Widget ด้านซ้าย

Layout : ก่อนจะดำเนินการใส่ Widget จะต้องทำการเลือก Layout ของ Section ก่อน

Basic : เป็นส่วนของ Widget Basic ทั่วไป เช่น Heading , Image

จัดการหน้า

การจัดการหน้า สามารถทำได้ในหัวข้อ ” หน้า “

สามารถตรวจสอบหน้า ได้โดยเลือกหัวข้อ ” หน้าทั้งหมด “

สามารถเพิ่มหน้าได้โดยหัวข้อ ” เพิ่มหน้าใหม่ ” / ทำการใส่ชื่อหน้า และ คลิกปุ่ม Edit with elementor เพื่อทำการปรับแต่งหน้า

หากต้องการปรับแต่งหน้าที่มีอยู่แล้วสามารถเลือกหน้าปรับแต่งได้ที่หน้าทั้งหมด โดยเลือก Edit with elementor 

การ Edit with Elementor

เมื่อทำการเลือก หัวข้อ Edit with Elementor  จะเข้าสู่หน้าการ Edit Page ในหน้านี้สามารถปรับแต่งหน้าได้ตามที่ต้องการโดยเลือกใช้ Widget ด้านซ้าย

Layout : ก่อนจะดำเนินการใส่ Widget จะต้องทำการเลือก Layout ของ Section ก่อน

Basic : เป็นส่วนของ Widget Basic ทั่วไป เช่น Heading , Image

จัดการเรื่อง / บทความ

การจัดการเรื่องหรือบทความ สามารถทำได้ในหัวข้อ ” เรื่อง “

สามารถตรวจสอบเรื่องหรือบทความ ได้โดยเลือกหัวข้อ ” เรื่องทั้งหมด “

สามารถเพิ่มบทความได้โดยหัวข้อ ” เพิ่มเรื่องใหม่ ” เมื่อทำการเพิ่มเรื่องใหม่จะสามารถปรับ แต่งได้โดย 2 วิธี 

1. Edit โดยใช้ Widget ของ WordPress เอง 

เมื่อทำการเลือกปุ่ม + แล้ว คลิกดูทั้งหมด Widget ทั้งหมดจะปรากฏด้านซ้าย สามารถเลือกใช้ Widget ต่างๆในการปรับแต่ง บทความได้

2. Edit with Elementor หากต้องการปรับแต่งโดย Elementor สามารถคลิกปุ่ม Edit with Elementor ซ้ายบนได้

เมื่อคลิก Edit with Elementor แล้ว สามารถเลือกใช้ Widget ด้านซ้ายมือเพื่อทำการปรับแต่งบทความได้

*การแยกบทความของ Nex7r และ Suunto จะใช้การแยกโดยกำหนดป้ายกำกับให้กับบทความ หากไม่กำหนดบทความจะไม่แสดงบนหน้าเว็บไซต์

จัดการสินค้า & เพิ่มสินค้า

การจัดการสินค้า หรือ เพิ่มสินค้า สามารถทำได้ในหัวข้อ ” สินค้า “

สามารถตรวจสอบ หรือ จัดการสินค้าที่อยู่บน Website ได้โดยเลือกหัวข้อ ” สินค้าทั้งหมด “

ในหน้าสินค้าทั้งหมด สามารถตรวจสอบสินค้า เพิ่มสินค้า หรือ นำเข้าสินค้า และ นำออก 

หากต้องการเพิ่มสินค้าให้เลือกหัวข้อ ” เพิ่ม “

ในหน้าเพิ่มสินค้า สามารถใส่ข้อมูลสินค้า และ เลือกหมวดหมู่ ตั้งราคา

จัดการออเดอร์

จัดการออเดอร์ สามารถทำได้ในหัวข้อ ” Woocommerce > คำสั่งซื้อ “

สามารถตรวจสอบ หรือ จัดการออเดอร์ทั้งหมดโดยรวมได้จากหน้านี้

สามารถปรับแก้ไขข้อมูลออเดอร์ หรือ ปรับสถานะออเดอร์ได้ในหน้านี้

จัดการเลขพัสดุ / ขนส่ง

จัดการเลขพัสดุ / ขนส่ง สามารถทำได้ในหัวข้อ ” Shipop > เลือกขนส่ง “

เมื่อทำการเลือกหัวข้อ ” เลือกขนส่ง ” ในหน้าสามารถจัดการออเดอร์ที่ต้องการจัดส่ง โดย เลือกออเดอร์ที่ต้องการจัด และ คลิก ” เลือกขนส่ง ” 

จัดการลงทะเบียนรับประกัน หรือ ตรวจสอบการลงทะเบียน

จัดการลงทะเบียนรับประกัน หรือ ตรวจสอบการลงเบียน สามารถทำได้ในหัวข้อ ” Fluent Forms Pro > Forms “

เลือกหัวข้อด้านล่าง Form ที่ต้องการ 

Edit : จัดการหรือปรับแต่ง Form

Setting : ตั้งค่า Form

Entries : Form ที่ลูกค้าดำเนินการกรอกเข้ามา

Preview : พรีวิวรูปแบบของ Form

Duplicate : คัดลอก Form

Export : ส่งออก Form

Find : ค้นหาว่าฟอร์มถูกใช้งานอยู่ในหน้าไหน

หัวข้อ Entries จะเป็นการตรวจสอบ Form ที่ลูกค้ากรอกเข้ามา 

หากต้องการปรับแก้ไขข้อมูล หรือ ตรวจสอบข้อมูลสามารถทำได้  โดยหัวข้อ Actions และ คลิก Icon รูปดวงตา

ในหน้านี้สามารถตรวจสอบข้อมูล และ ทำการแก้ไขข้อมูลของลูกค้าได้

เมื่อทำการคลิกปุ่ม Edit สามารถทำการแก้ไขข้อมูลของลูกค้าได้

หากต้องการ Export ข้อมูลลูกค้า สามารถทำได้ในหน้า Entries และ เลือกหัวข้อ Export > Export as CSV or Export as Excel (xlsv)

หากต้องการ Import ข้อมูลลูกค้า สามารถทำได้ในหน้า Entries และ เลือก จุดไข่ปลา มุมขวาของหน้า > Import

ในหัวข้อ Import ให้ทำการเลือก File Type เป็น CSV(.csv) เสมอ 

การค้นหาข้อมูล

เลือกหัวข้อ Advanced Search 

เลือกหัวข้อ Add > Inputs > เลือกหัวข้อที่ต้องการค้นหา เช่น names[ชื่อ / Name] (สามารถเลือกได้มากกว่า 1 หัวข้อ)

เมื่อทำการเลือกหัวข้อที่ต้องการค้นหาแล้ว ให้ทำการใส่ข้อมูลในช่อง Condition Value  เมื่อใส่ข้อมูลแล้วทำการคลิกที่ปุ่ม Filter

การ Download Pdf

ทำการเลือกฟอร์มที่ต้องการตรวจสอบ หรือ ต้องการ Download Pdf 

เมื่อเลือกฟอร์มแล้ว ให้หาหัวข้อ PDF Downloads > คลิก PDF ที่ต้องการ Downloads

จัดการลงทะเบียนซ่อม หรือ ตรวจสอบการลงทะซ่อม

จัดการลงทะเบียนซ่อม หรือ ตรวจสอบการลงทะซ่อม สามารถทำได้ในหัวข้อ ” Fluent Forms Pro > Forms “

เลือกหัวข้อด้านล่าง Form ที่ต้องการ 

Edit : จัดการหรือปรับแต่ง Form

Setting : ตั้งค่า Form

Entries : Form ที่ลูกค้าดำเนินการกรอกเข้ามา

Preview : พรีวิวรูปแบบของ Form

Duplicate : คัดลอก Form

Export : ส่งออก Form

Find : ค้นหาว่าฟอร์มถูกใช้งานอยู่ในหน้าไหน

หัวข้อ Entries จะเป็นการตรวจสอบ Form ที่ลูกค้ากรอกเข้ามา 

หากต้องการปรับแก้ไขข้อมูล หรือ ตรวจสอบข้อมูลสามารถทำได้  โดยหัวข้อ Actions และ คลิก Icon รูปดวงตา

ในหน้านี้สามารถตรวจสอบข้อมูล และ ทำการแก้ไขข้อมูลของลูกค้าได้

เมื่อทำการคลิกปุ่ม Edit สามารถทำการแก้ไขข้อมูลของลูกค้าได้

หากต้องการ Export ข้อมูลลูกค้า สามารถทำได้ในหน้า Entries และ เลือกหัวข้อ Export > Export as CSV or Export as Excel (xlsv)

หากต้องการ Import ข้อมูลลูกค้า สามารถทำได้ในหน้า Entries และ เลือก จุดไข่ปลา มุมขวาของหน้า > Import

ในหัวข้อ Import ให้ทำการเลือก File Type เป็น CSV(.csv) เสมอ 

การค้นหาข้อมูล

เลือกหัวข้อ Advanced Search 

เลือกหัวข้อ Add > Inputs > เลือกหัวข้อที่ต้องการค้นหา เช่น names[ชื่อ / Name] (สามารถเลือกได้มากกว่า 1 หัวข้อ)

เมื่อทำการเลือกหัวข้อที่ต้องการค้นหาแล้ว ให้ทำการใส่ข้อมูลในช่อง Condition Value  เมื่อใส่ข้อมูลแล้วทำการคลิกที่ปุ่ม Filter

การเปลี่ยนสถานะ

เลือกหัวข้อ Change Status to > เลือกสถานะที่ต้องการเปลี่ยน

การส่ง Email แจ้งเตือนสถานะเปลี่ยน

เมื่อทำการเปลี่ยนสถานะเรียบร้อยแล้ว ทำการเลือก Resend Email Notification

ให้ทำการเลือก Template Email ที่ต้องการส่งให้ลูกค้า หัวข้อ Select Notification 

เมื่อทำการเลือก Template Email แล้ว ให้คลิกที่ปุ่ม Resend this notification เพื่อดำเนินกการส่ง Email

การตั้งค่า Template Email Notification

ทำการเลือกหัวข้อ Settings & Integrations > Email Notifications

เมื่อทำการเลือกหัวข้อ Email Notifications แล้ว หากต้องการเพิ่ม Template Email ให้ทำการเลือก + Add Notification 

เมื่อทำการเลือกหัวข้อ + Add Notification แล้ว ในหน้านี้สามารถตั้งค่า Template Email

Name : ชื่อของ Template เช่น Template อัพเดทสถานะสินค้า

Send To : เป็นการเลือกว่าจะส่ง Email นี้ให้ใคร ในหัวข้อนี้ให้เลือก Select a Field > Send to Field = อีเมล / E-mail

Subject : หัวข้อของ E-mal 

Email Body : เนื้อหาของ Email ในส่วนนี้สามารถดึงข้อมูลต่างๆใน Form มาลงใน Email ได้ โดยเลือกหัวข้อ Add Shortcodes

หากต้องการให้ E-mail ส่ง PDF ให้ลูกค้าให้ทำการเลือก หัวข้อ PDF Attachments > และเลือก Template Pdf ที่ต้องการแนบใน Email 

การ Download Pdf

ทำการเลือกฟอร์มที่ต้องการตรวจสอบ หรือ ต้องการ Download Pdf 

เมื่อเลือกฟอร์มแล้ว ให้หาหัวข้อ PDF Downloads > คลิก PDF ที่ต้องการ Downloads 

การตั้งค่า PDF หรือ ปรับแต่ง Template PDF

ทำการเลือกหัวข้อ Settings & Integrations > PDF Feeds

เมื่อทำการเลือกหัวข้อ PDF Feeds แล้ว หากต้องการเพิ่ม Template PDF ให้ทำการเลือก + Add PDF Feed 

เมื่อทำการเลือกหัวข้อ + Add PDF Feed แล้ว ในหน้านี้สามารถตั้งค่า Template PDF

Feed Title : ชื่อ PDF เช่น PDF หลักฐานการส่งซ่อม

Header Content : ข้อมูลส่วนหัวกระดาษ สามารถใส่เป็น Logo หรือ ข้อมูลที่ต้องการไว้ ส่วนหัวของ PDF ได้ ในส่วนนี้สามารถดึงข้อมูลต่างๆใน Form มาลงใน PDF ได้ โดยเลือกหัวข้อ Add Shortcodes

PDF Body Content : ข้อมูลส่วนเนื้อหาของ PDF  ในส่วนนี้สามารถดึงข้อมูลต่างๆใน Form มาลงใน PDF ได้ โดยเลือกหัวข้อ Add Shortcodes 

Footer Content : ข้อมูลส่วนท้ายของ Pdf

Allow Download : เปิดการตั้งค่าให้สามารถ Download ได้

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า